อนาคตยางพาราไทย กับความสำคัญของยุทธศาสตร์ยางพาราระยะ 20 ปี
เรื่องโดย : วิเชียร แก้วสมบัติ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ยางพาราถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญของประเทศไทย เนื่องจากเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยปัจจุบันประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกยางพาราประมาณ 22 ล้านไร่ (ครอบคลุมกว่า 60 จังหวัด) และสามารถผลิตยางธรรมชาติได้ 4.4 ล้านตัน โดยผลผลิตดังกล่าวได้สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรชาวสวนยางที่มีอยู่จำนวน 1.6 ล้านครัวเรือน (หรือ 6 ล้านคน) ประมาณ 3...
เจาะลึกอุตสาหกรรมไม้ยางแปรรูปไทย: ภายนอกที่สดใส มีความท้าทายซ่อนอยู่
เรื่องโดย : นายธนายุส บุญทอง และ นางนิลวรรณ ฟูเฟื่องสิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
อุตสาหกรรมไม้ยางแปรรูปของไทย แม้ภายนอกจะดูสดใส อย่างที่เห็นจากตัวเลขส่งออกที่ขยายตัวดี แต่ภายในอุตสาหกรรมเองต้องเผชิญการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น เป็นผลให้กำไรต่อหน่วยมีแนวโน้มลดลง อีกทั้ง ยังมีความท้าทายซ่อนอยู่หลายประการ ทั้งการ พึ่งพิงจีนตลาดเดียว การขาดแคลนแรงงาน รวมถึงการกีดกันการค้าจากมาตรฐานจัดการสวนป่าอย่างยั่งยืน จึงเป็นโจทย์สำคัญให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ตระหนักและวางแผนปรับตัวในในระยะข้างหน้า
2-3 ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมไม้ยางแปรรูปของไทยไปได้ดี
ไม้ยางเป็นเพียงไม้ชนิดเดียวของไทยที่ได้รับอนุญาตให้ส่งออกได้ไม่จำกัดปริมาณ และเป็นไม้เศรษฐกิจหลักที่สร้างรายได้จากการส่งออกให้กับประเทศ ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี...
เศรษฐกิจไทยปี 2018 ขยายตัว 4.1 คาดปี 2019 จะขยายตัวแค่ 3.8%
โดย พนันดร อรุณีนิรมาน และ จิรายุ โพธิราช Economic Intelligence Center (EIC)
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานตัวเลข GDP ไตรมาส 4 ปี 2018 ขยายตัวเร่งขึ้นที่ 3.7%YOY จากที่เติบโต 3.2%YOY ในไตรมาสก่อนหน้า หรือคิดเป็นการเติบโต 0.8%QOQ_sa ทำให้ทั้งปี 2018 เศรษฐกิจไทยขยายตัว...
แนวโน้มราคายางในตลาดโลก เริ่มปรับตัวสูงขึ้น
โดย : เชษฐา มีมั่งคั่ง
ตลาดหุ้นโลกเริ่มเห็นการปรับฐานลงมากันบ้างแล้ว หลังจากที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเหนือแนวดัชนี 20,000 จุดตั้งแต่มกราคม 2017 พอมาถึง มกราคม 2018 ก็ขึ้นมาอีก 7,000 จุด ถ้าไม่ปรับฐานทำกำไรกันบ้าง คงจะขึ้นยาก ในการวิเคราะห์ทางเทคนิค มองแนวรับใหญ่ที่ 22,000 จุด คาดว่าจะเป็นจังหวะรีบาวด์ ในขณะที่ตลาดหุ้นจีนรอบนี้กลับมาแข็งแกร่ง ลงไม่เยอะเหมือนดัชนีดาวโจนส์
ส่วนประเด็นที่น่าจับตา...
ดูแลสวนยางหน้าแล้ง จัดการง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก ต้นยางปลอดภัย
ถ้าพูดถึงคำว่า “ยาง” แล้ว ของสิ่งนี้คงสร้างความคุ้นเคยกับเราอยู่ไม่น้อยเพราะวนเวียนอยู่ในวิถีชีวิตประจำวันของเราไม่ว่าจะเป็นยางวงที่เด็กๆ มักใช้ร้อยเพื่อเล่นโดดยาง ถุงมือที่คุณหมอใส่เวลาตรวจคนไข้ หมอนที่ใช้หนุนนอน หรือแม้กระทั่งยางล้อรถยนต์ ต่างก็ทำมาจาก “ยางพารา” ทั้งสิ้น
ประเทศไทยถือเป็นมือวางอันดับ 1 ในการผลิตยางธรรมชาติเพื่อใช้และส่งออกไปยังต่างประเทศ แต่กว่าจะเป็นน้ำยางคุณภาพเยี่ยม ที่นำมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ นั้น ต้องผ่านการดูแลประคบประหงมจากผู้ปลูกเป็นอย่างดี แม้ว่ายางพาราจะเป็นพืชที่แข็งแรงและมีการพัฒนาสายพันธุ์ให้เหมาะสมกับพื้นที่ๆ ปลูก แต่ด้วยปัจจัยจากสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่อาจทำให้ยางอ่อนแอ และให้ผลผลิตน้อยลง รวมถึงอาจเกิดโรคต่างๆ ที่มีตามช่วงฤดูกาลโดยเฉพาะในหน้าฝน อีกทั้งในช่วงเดือนมีนาคม...
ศรีลังกา’ คู่ค้าเอเชียใต้ ตลาดยางและเกษตรที่น่าจับตา
ส่องโอกาสทางการค้าไปประตูสู่เอเชียใต้ ‘ศรีลังกา’ อีกหนึ่งประเทศคู่ค้าสำคัญ ระบุ ช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ไทยได้ดุลสินค้าเกษตร เฉลี่ยปีละ 4,039 ล้านบาท โดยมีมูลค่าส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.10 ต่อปี ในขณะที่มีสัดส่วนการนำเข้า ร้อยละ 0.08 ของมูลค่านำเข้าสินค้าเกษตรจากโลก เผย สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ น้ำตาล ยางธรรมชาติ และปลาแห้งใส่เกลือรมควัน
ประเทศศรีลังกา...
เจาะลึกประโยชน์รถไฟทางคู่ต่อการขนส่งสินค้ายางและเกษตรแปรรูปของอีสาน
โดย : นายโชติพัฒน์ กลิ่นสุคนธ์ นางสาวสุพิชญา สุวรรณโภชน์ ฝ่ายนโยบายโครงสร้างเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทย
ภาคอีสานเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรท่ีสำคัญของประเทศ ผลผลิตข้าว มันสำปะหลัง และอ้อย มากกว่าครึ่งมาจากภาคอีสาน ในขณะท่ีผลผลิตยางพารา ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนหน่ึงเป็น ผลจากนโยบายส่งเสริมการปลูกยางของภาครัฐในช่วงที่ผ่านมา นอกจากจะบริโภคภายในประเทศแล้ว ยังส่งสินค้าเกษตรที่ผลิตในอีสานออกไปขายในต่างประเทศด้วย
แม้ว่าสินค้าเกษตรจะเหมาะกับการขนส่งทางรางเพราะมีน้ำหนักมาก ปริมาณขนส่งต่อครั้งสูง และ มูลค่าต่อหน่วยต่ำ แต่ส่วนหนึ่งเพราะข้อจำกัดของเครือข่ายเส้นทางรถไฟท่ีมีเพียง 4,430 กิโลเมตรทั่วประเทศ...